วันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 3



บันทึกอนุทิน

วิชา   การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์  ตฤณ  แจ่มถิน

วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน  พ.ศ.  2556

ครั้งที่  3  เวลาเรียน 14.10 - 17.30  กลุ่ม 102 ห้อง 432

เวลาเข้าสอน  14.10  เวลาเข้าเรียน 14.10 เวลาเลิกสอน 17.30
       
        ความรู้ที่ได้รับ
                   วันนี้อาจารย์สอนเรื่องจุดมุ่งหมายของการสอนทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

               -  เพื่อให้เข้าใจพื้นฐานของคณิตศาสตร์ เช่น รู้เกี่ยวกับคำศัพท์

               -  เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ

               -  เพื่อให้รู้จักการใช้กระบวนการหาคำตอบ

               -  เพื่อให้ฝึกฝนทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน

                - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ

 
       จากนั้นอาจารย์ได้สอนต่อเกี่ยวกับ   เรื่องทักษะพื้นฐานทางคณิตศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


            1. การสังเกตุ (Observation)   คือ การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งในการเรียนรู้

               โดยเข้าไปมีปฎิสัมพันธ์โดยตรงอย่างมีจุดหมาย


   ตัวอย่างเช่น   การสังเกตุจุดแล้วแยกออกมาแต่ละจุด



     2.  การจำแนกประเภท ( Classitying )  คือ การแบ่งแยกสิ่งของโดยหาเกณฑ์หรือสร้างเกณฑ์ในการ

          แบ่งปัน

    
ตัวอย่างเช่น     การจำแนกหรือแบ่งประเภทของสิ่งของหรือสี
 




  3. การเปรียบเทียบ  ( Comparing )    คือ  การที่เด็กจะต้องอาศัยความสัมพันธ์ของสิ่งของ หรือ

เหตุการณ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป เด็กต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งๆนั้น

              และรู้จักคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์


ตัวอย่างเช่น     การเปรียบเทียบขนาด






   4. การจัดลำดับ (Ordering)  คือ เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง เป็นการจัดลำดับวัตถุสิ่งของ

     เหตุการณ์


    ตัวอย่างเช่น    การเรียงลำดับสิ่งของจากใหญ่ไปหาเล็ก




      5.  การวัด ( Measurement )  คือ  มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์  การวัดสำหรับ

         เด็กปฐมวัย  ได้แก่  อุณภูมิ  ระยะทาง  เวลา   ความยาว


 ตัวอย่างเช่น    การวัดความยาวระหว่างเชือกสองเส้นว่าอันไหนยาวกว่ากัน






6. การนับ   (Covnting)  คือ เด็กจะชอบนับแบบท่องจำโดยไม่รู้ความหมาย การนับแบบท่องจำจะมี

   ความหมาย ก็ต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง


  ตัวอย่างเช่น  การให้เด็กดูรูปแล้วนับจำนวนในรูปว่ามีกี่ลักษณะ





      7.  รูปร่างรูปทรงและขนาด (Sharp and Size) คือ เด็กส่วนมากเข้าใจอยู่แล้ว



       กิจกรรมท้ายคาบ   อาจารย์แจกกระดาษให้คนละ1แผ่นจากนั้นอาจารย์ให้ทุกคนวาดวงกลม

กลางกระดาษหนึ่งวง จากนั้นอาจารย์ให้เขียนตัวเลขที่ชอบลงไปในวงกลมจากนั้นอาจารย์ก็

แจกกระดาษสีแล้วบอกใหเทกลีบดอกไม้ตามจำนวนเลขที่วาดในวงกลม 




ดิฉันเขียนเลข 7 เลยยต้องทำทั้งหมด 7 กลีบ



      การนำความรู้ไปใช้

     สามารถนำไปสอนเด็กในเรื่องการบับเลขได้

    สามารถนำกิจกรรมที่ได้ทำในวันนี้ไปประยุกต์ใช้ในการออกฝึกสอนได้

    สามารถนำไปสอนเกี่ยวการคณิตศาตร์ในรูปแบบของการจัดกิจกรรมได้




              

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น